โรคไลม์ (Lyme disease) โรคอันตรายจากจากเห็บ

หากใครเคยได้ติดตามข่าวในช่วงสามปีที่ผ่านมาอาจจะเคยได้ยินชื่อโรคๆหนึ่งที่มาจากเห็บกันมาบ้างแล้วกับโรคที่มีชื่อว่า “โรคไลม์” (Lyme disease) เนื่องจากโรคๆนี้นั้นเคยมีการพูดถึงเป็นอย่างมาในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม ปี 2562 ซึ่ง ณ ตอนนั้นก็เป็นอะไรที่ค่อนข้างฮือฮาเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากความอันตรายของโรคจะน่ากลัวแล้วมันยังมาจากเห็บ หนึ่งในแมลงที่คนเกลียดที่สุดอีกด้วย ดังนั้นเองในวันนี้เราก็เลยอยากจะมาพูดถึงโรคๆนี้ให้ทุกคนได้รู้จักกับมันมากขึ้น เพื่อที่ว่าหลายคนที่มีสัตว์เลี้ยงไม่ว่าจะแมวหรือหมาจะได้รับมือกับมันได้ทัน ฉะนั้นถ้าพร้อมกันแล้วเราไปดูรายละเอียดของโรคไลม์กันเลยค่ะ

โรคไลม์ สาเหตุ อาการ การรักษา?

โรคไลม์

โรคไลม์ (Lyme disease) คือ โรคที่เกิดจากสาเหตุการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่มีพาหะนำโรคมาจากเห็บ เป็นแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Borrelia burgdorferi โดยมันจะมีลักษณรูปร่างร่างคล้ายกับเกลียวสว่าน ซึ่งอย่างที่เราบอกไปว่าเชื้อแบคทีเรียตัวนี้นั้นพบได้ในเห็บ ทำให้สัตว์จำพวกแมว หมา กวาง ม้า วัว คววายต่างๆจึงเป็นแหล่งสำคัญของการกักตุนโรค เมื่อเห็บที่มีเชื้อกัดสัตว์ชนิดใดแล้วไปกัดสัตว์อีกตัวนึงสัตว์ตัวนั้นก็จะมีโอกาสได้รับเชื้อ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการแพร่เชื้อที่ส่งผลให้คนหรือสัตว์ที่ถูกกัดสามารถเป็นโรคได้ แต่ทว่าสำหรับประเทศไทยนั้นยังไม่พบการแพร่เชื้อของโรคไลม์ หรือมีรายงานเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคนี้มาก่อน แต่อย่างไรก็ดีโรคๆนี้จะพบการแพร่ระบาดได้ที่ในประเทศแถบอเมริกา ยุโรปและออสเตรเลีย 

โรคไลม์

สำหรับอาการของโรคไลม์ที่พบนั้นผู้ป่วยก็จะมีแผลสีแดงเรียบๆ และจะค่อยๆขยายวงกว้างออกไป นอกจากนี้อาการอื่นๆที่พบได้ คือ ปวดศีรษะ มีไข้ ปวดกล้ามเนื้อ หากไม่หายนานๆไปช่วงสัปดาห์หรือเดือนก็จะมีอาการทางระบบประสาท อาการปวดข้อ เกิดภาวะอัมพาต อาการกล้ามอ่อนแรงด้านใดด้สนหนึ่งของใบหน้า ตลอดจนเจ็บหน้าอก ใจสั่น หายใจตื้น ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมาได้ เช่น ปวดหัวรุนแรง ปวดกระดูกและกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง เกิดปัญหาด้านการรับรู้ อารมแปรปรวน เกิดความผิดปติของปอดและหัวใจ ซึ่งหากรุนแรงมากๆก็อาจทำให้เสียชีวิตในเวลาต่อได้

โรคไลม์

การรักษาโรคไลม์นั้นหากผู้ป่วยรู้เร็วและรักษาได้ไวก็จะสามารถฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ซึ่งการรักษาโรคก็จะเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone, Doxycycline เป็นต้น นอกจากนี้ก็จะเป็นการรักษาตามการวินิจฉัยของแพทย์ ตลอดจนการติดตามและเฝ้าระวังดูอาการ และห้ามพลาด Betclic88 ศูนย์รวมความบันเทิงในการเดิมพันคาสิโนออนไลน์ ทุกรูปแบบ ครบครัน เดิมพันง่าย รวยไว ปลอดภัยแน่นอน

ติดตามเว็บไซต์ที่รวบรวมเรื่องราวดีๆด้านสุขภาพได้ที่นี่ก่อนใคร